วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557

เติมน้ำมันอย่างไรไม่ให้ถูกโกง


รู้ไว้ใช่ว่า "เติมน้ำมันอย่างไรไม่ให้ถูกโกง" ก่อนที่คุณจะตกเป็นเหยื่อของเด็กปั๊มกลุ่มนี้ สังเกตุกันสักนิด เพื่อรักษาผลประโยชน์ของตัวเองกันค่ะ
ขอขอบคุณ: ที่มา. รายการ คาหนังคาเขา
----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน

วันอังคารที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2557

กำเนิดปิโตรเลียม

นักโบราณคดีเชื่อว่าประมาณ 2,500 ปีก่อนคริสตกาล พวกชนเผ่าบาบิโลเนียน (Babylonian) เริ่มใช้น้ำมัน (ปิโตรเลียม) เป็นเชื้อเพลิงแทนไม้และเมื่อประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนเป็นชาติแรกที่ทำเหมืองถ่านหินและขุดเจาะบ่อก๊าซธรรมชาติลึกเป็นร้อยเมตรได้ก่อนใคร
น้ำมันประกอบด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง ๆ หลายชนิดมากมายจนมีคำพูดว่าไม่มีน้ำมันจากบ่อไหนเลยในโลกที่มีการผสมผสานส่วนประกอบได้คล้ายกัน แต่จะเห็นว่าส่วนประกอบกว้าง ๆ คล้ายกัน ซึ่งตรงกันข้ามกับก๊าซธรรมชาติที่ประกอบด้วยก๊าซที่สำคัญคือ มีเทน (Methane) เป็นหลักที่เหลือซึ่งมีปริมาณน้อยกว่าได้แก่ อีเทน (Ethane) โปรเพน (Propane) และบิวเทน (Buthane) ปิโตรเลียมจัดได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ทางธรรมชาติที่ได้จากการสลายตัวของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์รวมกัน
ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นเรื่อย ๆ ในน้ำมันดิบที่เคลื่อนตัวเข้ามาก่อนถึงโครงสร้างกักเก็บเป็นเวลายาวนานหลายล้านปีซึ่งอาจะเป็นเหตุผลที่อธิบายได้ว่าทำไมน้ำมันจากบ่อต่าง ๆ จึงไม่เหมือนกัน
ตะกอนที่ปนอินทรีย์วัตถุหรือที่จะให้น้ำมันสะสมตัวอยู่ในปัจจุบันนี้คือ ตะกอนที่มีแร่ดินเหนียวอยู่ด้วยมากขณะที่กักเก็บน้ำมันจริง ๆ คือ หินทรายซึงประกอบด้วยแร่เขี้ยวหนุมานเป็นส่วนใหญ่หรือไม่ก็เป็นหินปูนที่มีแร่แคลไซต์มากหรือพวกหินที่มีรอยแตกมากมาย จึงดูเหมือนว่าน้ำมันเกิดอยู่ที่หนึ่งและต่อมาจึงเปลี่ยนเคลื่อนย้ายไปสะสมตัวอยู่อีกที่ซึ่งความจริงการเคลื่อนย้ายตัวของน้ำมันก็มีหลักการคล้าย ๆ กับการเคลื่อนย้ายของน้ำใต้ดินหินทรายที่มีความสามารถยอมให้ของเหลวไหลผ่านสูงกว่าหินดินดานมากขึงยอมให้น้ำมันผ่านเข้ามาได้และที่สำคัญคือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างน้ำมันกับแร่เขี้ยวหนุมานหรือแร่แคลไซต์มีน้อย ว่าน้ำกับแร่ดังกล่าว น้ำมันจึงผ่านไปได้แต่น้ำยังคงยึดเกาะอยู่ น้ำยึดเกาะข้างเม็ดแร่อย่างมากส่วนน้ำมันอยู่ตรงกลางช่องว่างโดยไม่ยอมผสมกันและเบากว่าน้ำมาก ดังนั้นน้ำมันจึงลอยสูงขึ้นมาเจอแหล่งกักเก็บและสะสมตัวอยู่ได้เหนือน้ำใต้ดินและโอกาสที่จะสะสมอยู่ได้ในตะกอนมีเพียง 0.1% ของน้ำมันที่เกิดมา จึงไม่แปลกใจเลยที่พบน้ำมันอยู่ได้มากกว่า 60% ของปริมาณน้ำมันทั้งหมดจากหินตะกอนยุคใหม่ไม่เกิน 2.5 ล้านปีเป็นส่วนใหญ่คือมหายุคนวชีวิน (Cenozoic) ประเทศไทยเราก็เช่นกัน น้ำมันทั้งหมดเกิดอยู่ในหินยุคใหม่ ๆ ทั้งนั้น จากการขุดเจาะน้ำมันพบว่ายิ่งเจาะลึกมากเท่าใด โอกาสที่จะพบน้ำมันก็น้อยลงเท่านั้น ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็นเพราะหินยิ่งลึกมากความพรุนยิ่งน้อยลง อัดตัวกันมากขึ้นและเกิดแรงดันใหม่น้ำมันเคลื่อนไปข้างบนได้มาก
ปริมาณคิดเป็นร้อยละของน้ำมันทั่วโลกที่พบในที่หินกักเก็บที่สำคัญ ซึ่งหินทรายเป็นหินกักเก็บได้ดีกว่าหินปูน
แหล่งกำเนิดปิโตรเลียม
น้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีสถานะเป็นของเหลวและก๊าซและเบากว่าน้ำ น้ำมันผลิตได้จากบ่อน้ำมัน (oil pools) ซึ่งหมายถึงแหล่งสะสมน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดินในแหล่งกักเก็บที่มีตัวปิดกั้นทางธรณีวิทยา บ่อน้ำมันจึงอาจเป็นคำพูดที่ใช้ผิดๆ จริงๆ แล้วไม่ใช่เป็นทะเลสาบที่มีน้ำมันแต่หมายถึง ส่วนของหินที่มีน้ำมันบรรจุอยู่เต็มช่องว่างในหินนั้น ดังนั้นบ่อน้ำมันหลายๆ บ่อที่มีลักษณะ-โครงสร้างของการกักเก็บคล้ายๆ กันหรือบ่อเดียวโดยแยกจากบ่ออื่นที่ไหลออกไปอาจเรียกรวมๆ กันว่า แหล่งน้ำมัน (oil field) แหล่งน้ำมันจึงอาจประกอบด้วยบ่อที่อยู่เรียงๆ กันไปอยู่ข้างๆ กันหรืออยู่บนล่างตามแนวดิ่งก็ได้
ปัจจุบันปัจจัยควบคุมการสะสมน้ำมันมีอยู่ด้วยกัน 5 ประการด้วยกัน คือ
ต้องมีหินที่ทำหน้าที่ให้น้ำมันมายึดเกาะอยู่ได้เรียกว่า หินอุ้มน้ำมันหรือหินกักเก็บ (reservoir rock) ซึ่งมีคุณสมบัติเดิมคือ ต้องมีรูพรุนมากพอที่จะให้น้ำมันไหลผ่านได้ หินกักเก็บจะต้องถูกปิดทับด้วยชั้นหินที่ไม่ยอมให้น้ำมันไหลซึมออกไปซึ่งเรียกว่า หินปิดกั้น (roof rock) เช่นหินดินดาน ทำให้น้ำมันลอยตัวอยู่เหนือน้ำบาดาลโดยไม่หนีหายไป ทั้งหินกักเก็บและหินปิดกั้นจะประกอบขึ้นมาเป็นโครงสร้างหรือรูปแบบการกักเก็บน้ำมัน (trap หรือ trap rock) ในแบบต่างๆ กัน ในการกักเก็บที่ดีขนาดไหนก็ไม่ได้รับประกันว่าจะมีน้ำมันได้ถ้าไม่มีหินที่เป็นต้นกำเนิดน้ำมันที่เรียกว่า หินกำเนิด (source rock) ถ้าจะมีการเกิดการเสียรูปโครงสร้าง (structural deformation) เมื่อสร้างรูปแบบการกักเก็บก็ต้องเกิดขึ้นก่อนที่น้ำมันจะหลบหนีออกจากหินกักเก็บจนหมด

ขอขอบคุณ ที่มา.บริษัทเชฟรอนประเทศไทย /http://www.chevronthailand.com/business/petroleum/original.asp
----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน

วันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ยินดีต้อนรับสู่เว็บ_SRIFAH_PROGRESS_.ศรีฟ้าโปรเกรส.บริการซ่อม-ขาย-แลกเปลี่ยนตู้จ่ายน้ำมัน, อุปกรณ์-อะไหล่ ตู้จ่ายน้ำมัน อุปกรณ์สำหรับงานน้ำมัน

ยินดีต้อนรับสู่เว็บ_SRIFAH_PROGRESS_.ศรีฟ้าโปรเกรส.บริการซ่อม-ขาย-แลกเปลี่ยนตู้จ่ายน้ำมัน, อุปกรณ์-อะไหล่ ตู้จ่ายน้ำมัน อุปกรณ์สำหรับงานน้ำมัน
----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2557

คำถามน่ารู้เกี่ยวกับอุปกรณ์น้ำมัน และ ตู้จ่ายน้ำมัน


----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน

วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ช่วยกันประหยัดน้ำมันดีกว่า

อ่านแล้วก็ช่วยกันประหยัดน้ำมัน ช่วยชาติกันด้วยนะ……. the car 1 ช่วยกันประหยัดน้ำมันดีกว่า
the car 2 ช่วยกันประหยัดน้ำมันดีกว่า
the car 3 ช่วยกันประหยัดน้ำมันดีกว่า
the car 4 ช่วยกันประหยัดน้ำมันดีกว่า
the car 5 ช่วยกันประหยัดน้ำมันดีกว่า
the car 6 ช่วยกันประหยัดน้ำมันดีกว่า
the car ช่วยกันประหยัดน้ำมันดีกว่า
อ่านแล้วก็ช่วยกันประหยัดน้ำมัน ช่วยชาติกันด้วยนะ…….
ที่มา – FW Mail
----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน
<<< กลับไปหน้า บทความ

ขั้นตอนการประหยัด น้ำมันและผลที่จะได้รับ

 
ในปัจจุบัณนี้เราหลีกเลี่ยงราคาน้ำมันที่สูงขึ้นทุกวันๆไม่ได้จริงๆ วันนี้ เรามีวิธีประหยัดน้ำมันง่ายๆ มาแนะนำกัน

ขั้นตอนการประหยัด น้ำมันและผลที่จะได้รับ

1. เติมน้ำมันหลัง 4 ทุ่ม หรือก่อน 9 โมงเช้าเสมอ อุณหภูมิที่เย็นน้ำมันหดตัวได้ปริมาตรมากขึ้น 2%
2. เติมน้ำมันแค่หัวจ่ายตัดพอแล้ว ถ้าเติมจนเต็มปรี่ ร้อนๆน้ำมันจะขยายตัวระเหยทิ้งที่รูระบาย
3. อุ่นเครื่อง 1 นาทีในหน้าร้อนและ 3 นาทีในหน้าหนาว เครื่องจะได้ไม่ใช้กำลังฉุดมากและการหล่อลื่นจะสมบูรณ์ขึ้น
4. ค่อยๆออกตัวเมื่อรถจอดนิ่ง 1-2 พันรอบ ได้ความนิ่มนวล ประหยัด และลดการสึกหรอของเครื่องยนต์
5. ควรใช้เกียร์สูงเมื่อรถวิ่งได้ 2500 รอบขึ้นไป การลากเกียร์จะทำให้ชดเกียร์ทำงานจนอายุการใช้งานสั้น
6. เครื่อง 2.0 ลิตรขึ้นไปความเร็วคงที่ที่ทำให้ประหยัด 110 กม./ชม. รักษาสเถียรภาพความเร็วทำให้กินน้ำมันน้อยที่สุดขณะรถวิ่ง
7. เครื่อง 1.6 ลิตรขึ้นไปความเร็วคงที่ที่ทำให้ประหยัด 90 กม./ชม. รักษาสเถียรภาพความเร็วทำให้กินน้ำมันน้อยที่สุดขณะรถวิ่ง
8. พักรถสัก 15 นาทีเมื่อขับเกิน 4 ชม.เพื่อให้ลดความร้อน ให้น้ำมันในระบบคลายความร้อนกลับมามีคุณสมบัติที่ดีอีกครั้ง
9. เกียร์ถอยกินน้ำมันมากสุด ควรค่อยๆถอยไม่ต้องรีบ เกียร์ถอยใช้อัตราทดและแรงฉุดมากกว่าทุกเกียร์
10. ก่อนถึงปลายทางสัก 500 เมตรให้ปิด COM แอร์ลดภาระเครื่อง เป่าลมไล่ความชื้นในตู้แอร์และไล่เชื้อราที่อยู่ในนั้นด้วย
11. เช็คลมยางให้สม่ำเสมอทุกๆ 2 อาทิตย์และเมื่อจะออกเดินทางไปต่างจังหวัด ลมยางอ่อนวิ่งได้ช้า ขอบยางสึกมากอายุการใช้งานสั้น
12. พยายามอย่าใส่ของไว้ในรถเยอะ เพิ่มน้ำหนักรถทำให้รถกินน้ำมันเพิ่มขึ้น 20 % ตามระยะทาง

ขอขอบคุณข้อมูล ผู้จัดการออนไลน์
----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน



การแจ้ง และการขออนุญาตประกอบกิจการควบคุม ตาม พรบ. ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542

1.) กิจการที่ต้องแจ้งการประกอบกิจการก่อนการประกอบกิจการ ได้แก่ กิจการควบคุมประเภทที่ 2 ดังนี้
     1. สถานที่เก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง ลักษณะที่ 2 (โรงงานขนาดเล็ก หรือเพื่อการเกษตร)
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิง ชนิดไวไฟน้อย ไม่เกิน 15,000 ลิตร
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิง ชนิดไวไฟปานกลาง ไม่เกิน 1,000 ลิตร
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิง ชนิดไวไฟมาก ไม่เกิน 454 ลิตร
     2. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประเภท ค ลักษณะที่ 1 (ปั๊มถังลอยริมถนนขนาดเล็ก)
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟน้อยในถังเก็บบนดิน ไม่เกิน 10,000 ลิตร
          - หรือเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมากหรือไวไฟปานกลางรวมกันไม่เกิน 454 ลิตร
     3. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประเภท ง (ปั๊มหลอดแก้วมือหมุน)
          - สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟน้อย ไม่เกิน 454 ลิตร
          - สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง ไม่เกิน 454 ลิตร
          - สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก ไม่เกิน 454 ลิตร
     4. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประเภท จ ลักษณะที่ 1 (ปั๊มทางน้ำขนาดเล็ก)
          - ให้บริการแก่ยานพาหนะทางน้ำ
          - สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ชนิดไวไฟน้อยหรือไวไฟปานกลางไม่เกิน 10,000 ลิตร
          - เก็บน้ำมันในถังเก็บน้ำมันบนพื้นดิน หรือในโป๊ะเหล็ก
2.) การที่ต้องขออนุญาตประกอบกิจการก่อนการประกอบกิจการ ได้แก่ กิจการควบคุมประเภทที่ 3 ดังนี้
     1. สถานที่เก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง ลักษณะที่ 3 (โรงงานขนาดใหญ่)
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟน้อย เกิน 15,000 ลิตร
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง เกิน 1,000 ลิตร
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก เกิน 1,000 ลิตร และทั้งหมดรวมกันปริมาณไม่เกิน 500,000 ลิตร
     2. คลังน้ำมันเชื้อเพลิง
          - สถานที่ที่ใช้เก็บน้ำมันเชื้อเพลิง ปริมาณรวมเกิน 500,000 ลิตร
     3. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประเภท ก (สถานีบริการมาตรฐานริมถนนใหญ่)
          - ติดถนนสาธารณะกว่าไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรือถนนส่วนบุคคลไม่น้อยกว่า 10 เมตร และเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงในถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงใต้พื้นดิน
     4. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประเภท ข (สถานีบริการมาตรฐานริมถนนซอย)
          - ติดถนนสาธารณะน้อยกว่า 12 เมตร หรือถนนส่วนบุคคลน้อยกว่า 10 เมตร และเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟน้อยในถัง เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงบนพื้นดินเกิน 10,000 ลิตร หรือเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก ไวไฟปานกลาง หรือไวไฟ น้อยไวในถังใต้พื้นดินปริมาณไม่เกิน 5,000 ลิตร
     5. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประเภท ค ลักษณะที่ 2 (ถังลอยริมถนนใหญ่)
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟน้อย ในถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงบนพื้นดินเกิน 10,000 ลิตร หรือเก็บน้ำมันเชื้อเพลิง หรือไวไฟน้อยไว้ในถังใต้พื้นดินปริมาณไม่เกิน 5,000 ลิตร
     6. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลง ประเภท จ ลักษณะที่ 2 (สถานีบริการทางน้ำขนาดใหญ่)
          - ให้บริการแก่ยานพาหนะทางน้ำ
          - ให้บริการแก่ยานพาหนะทางน้ำไวไฟน้อยหรือไวไฟปานกลาง ปริมาณเกิน 10,000 ลิตร
          - เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงในถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงบนพื้นดินหรือในโป๊ะเหล็ก
     7. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ประเภท ฉ (สถานีบริการอากาศยาน)
          - ให้บริการแก่อากาศยาน
     การยื่นแจ้ง และขออนุญาต กรุงเทพมหานคร ยื่นที่ กรมธุรกิจพลังงาน 222 อาคารฐานเศรษฐกิจ ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กทม. 10900โทร. 0 2513 8942-7 ต่อ 1026 โทรสาร.0 2513 9460 ต่างจังหวัด ยื่นที่ สำนักงานพลังงานภูมิภาคที่ 1-12
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : กรมธุรกิจพลังงาน

การขออนุญาตค้าน้ำมันเชื้อเพลิง
     1.ขออนุญาตปลูกสร้างอาคาร
          -ในเขตกรุงเทพมหานคร ติดต่อสำนักงานเขต
          -ต่างจังหวัด ติดต่อสำนักงานเทศบาล, อบต.
     2.ขออนุญาตเชื่อมทางเข้า-ออก
          -กรมทางหลวง, กรมทางหลวงชนบท
          -สำนักงานเขต
          -เทศบาล
          -อบต.
     3.ขออนุญาตประกอบกิจการค้าน้ำมัน
          -สำนักงานเขต
          -เทศบาล
          -อบต.
ขอบคุณข้อมูลจาก : กรมธุรกิจพลังงาน    www.doeb.go.th

สถานที่เก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง มี 3 ลักษณะ ดังนี้.
     ลักษณะที่ 1.
          -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก มีปริมาณไม่เกิน 40 ลิตร
          -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง มีปริมาณไม่เกิน 227 ลิตร
          -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟน้อย มีปริมาณไม่เกิน 454 ลิตร
     ลักษณะที่ 2.
          -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก มีปริมาณเกิน 40 ลิตร แต่ไม่เกิน 454 ลิตร
          -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง มีปริมาณเกิน 227 ลิตร แต่ไม่เกิน 1,000 ลิตร
          -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟน้อย มีปริมาณเกิน 454 ลิตร แต่ไม่เกิน 15,000 ลิตร
     ลักษณะที่ 3. -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟมาก มีปริมาณเกิน 454 ลิตร ขึ้นไป
          -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลาง มีปริมาณ เกิน 1,000 ลิตร ขึ้นไป
          -สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟน้อย มีปริมาณเกิน 15,000 ลิตร ขึ้นไป
            (ปริมาณทั้งหมดรวมกันแล้ว ต้องไม่เกิน 500,000 ลิตร)
 ขอบคุณข้อมูลจาก : กรมธุรกิจพลังงาน

ชนิดของน้ำมันเชื้อเพลิง
     1.ชนิดไวไฟมาก ได้แก่น้ำมันเชื้อเพลิงที่มีจุดวาบไฟต่ำกว่า 37.5 องศาเซลเซียส เช่นน้ำมันเบนซิน 91, 95 ฯลฯ
     2.ชนิดไวไฟปานกลาง ได้แก่น้ำมันเชื้อเพลิงที่มีจุดวาบไฟ ตั้งแต่ 37.8 องศาเซลเซียส ขึ้นไป แต่ต่ำกว่า 60 องศาเซลเซียส เช่นน้ำมันก๊าด น้ำมันสำหรับเครื่องบิน ฯลฯ
     3.ชนิดไวไฟน้อย ได้แก่น้ำมันเชื้อเพลิงที่มีจุดวาบไฟ ตั้งแต่ 60 องศาเซลเซียส ขึ้นไป เช่นน้ำมันดีเซล น้ำมันเตา น้ำมันหล่อลื่น ฯลฯ
แหล่งที่มาข้อมูล
     : -พรบ.ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2542
     : -กรมธุรกิจพลังงาน
----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน

จบแล้ว!!...คุณจะได้อะไร?

เมื่อคุณเรียนครอสนี้ จบแล้ว!!...คุณจะได้อะไร?

  • ได้เรียนรู้ที่จะใช้งาน อย่างถูกวิธี ป้องกันการชำรุดบกพร่องของเครื่องก่อนกำหนด และสามารถแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าได้อย่างรวดเร็ว (เมื่อเราเข้าใจวิธีการใช้งาน และการทำงานของเครื่อง) ได้ “ ไม่ต้องเสียเวลารอช่าง ” เพราะอาจเสียโอกาส และขาดรายได้ ได้
  • สามารถเพิ่มยอดขายได้ต่อเนื่อง (เมื่อตู้จ่ายน้ำมันของท่านสามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง ไม่เสีย – ไม่ติดขัด)
  • ใช้เทคนิคที่เรียนมานั้น กลับมาฝึกฝน ให้เกิดความชำนาญมากขึ้น
  • สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้
  • ครอสที่ช่วยให้เข้าใจในตัวสินค้า / อุปกรณ์ และได้ใช้งานได้ถูกต้อง เหมาะสม
  • ช่วยลดค่าใช้จ่ายในระยะยาว ในส่วนของ อุปกรณ์นั้นๆ เกิดชำรุด หรือ มีปัญหา สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง
----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน

10.คำถามน่ารู้เกี่ยวกับอุปกรณ์น้ำมัน

คำถาม : เราจะทราบได้อย่างไรว่า อุปกรณ์จ่ายน้ำมันของเรา มีความเที่ยงตรงหรือไม่
(ภาพอุปกรณ์จ่ายน้ำมันแบบต่าง ๆ ที่มีตัวเลขแสดงจำนวน ลิตร/เงิน)
คำตอบ : ทราบ / ทดสอบ ได้โดยวิธีการ ตรวจสอบความเที่ยง  [Calibration] โดยผู้ชำนาญการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  1. ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ชำนาญการ เช่น "ช่าง" หรือ "บริษัท" "องค์กร" ที่รับดำเนินการต่าง ๆ
  2. หน่วยงานรัฐ ที่ให้บริการตรวจสอบรับรอง (สำนักงานชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์)
----------------------------------------------------------------------
การดำเนินการตรวจสอบมาตรวัดน้ำมัน
สำนักชั่งตวงวัดได้กำหนดรายละเอียดการยื่นขอเป็นผู้รับใบอนุญาตเป็นผู้ตรวจสอบให้คำรับรองมาตรวัดปริมาตรน้ำมัน ไว้ดังต่อไปนี้
  1. คุณสมบัติของผู้ที่ประสงค์จะยื่นเป็นผู้ตรวจสอบให้คำรับรองฯ
  • เป็นผู้ประกอบธุรกิจผลิตหรือซ่อมมาตรวัดปริมาตรน้ำมัน
  • มีบุคลากรซึ่งมีความรู้ความสามารถในงานชั่งตวงวัด ซึ่งได้รับหนังสือรับรองการผ่านการฝึกอบรมฯ จากสำนักงานกลางชั่งตวงวัด
  • มีสถานที่ที่มีสภาพมั่นคง ถาวร แข็งแรง และถูกต้องตามแบบแปลนแผนผังที่ยื่นคำขอต่ออธิบดีกรมการค้าภายใน    
    • สถานที่สำหรับเก็บรักษาและสอบเทียบแบบมาตรามาตรวัดปริมาตรน้ำมัน(ห้องปฏิบัติการฯ)
    • สถานที่สำหรับตรวจสอบและให้คำรับรองมาตรวัดปริมาตรน้ำมัน
    • จัดให้มีเครื่องทดสอบมาตรวัดปริมาตรน้ำมันสำหรับใช้เป็นแบบมาตราในการ ตรวจสอบมาตรวัดปริมาตรน้ำมัน (ระเบียบกรมการค้าภายในเรื่องแบบมาตรามาตรวัดปริมาตรน้ำมัน)
    • จัดให้มีอุปกรณ์ที่จำเป็น เช่น ถังบรรจุน้ำมัน เครื่องควบคุมการไหล เป็นต้น
2. เอกสารหลักฐานที่ใช้ประกอบการยื่นคำขอฯ
  • แบบ ชว.002
  • หนังสือรับรองการประกอบธุรกิจผลิตหรือซ่อมมาตรวัดปริมาตรน้ำมัน
  • รายละเอียดแผนผังสถานที่ตรวจสอบเพื่อให้คำรับรอง และแผนผังห้องปฏิบัติการฯ
  • รายการเครื่องมือและอุปกรณ์
  • รายชื่อบุคลากร(สำเนาหนังสือรับรองการผ่านการฝึกอบรมจากสำนักงานกลางชั่งตวงวัด)
  • หนังสือมอบอำนาจ(กรณีทำการแทน) พร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ

----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน

9.คำถามน่ารู้เกี่ยวกับอุปกรณ์น้ำมัน

คำถาม : ท่อ Flexible ที่ใช้กับงานติดตั้งอุปกรณ์น้ำมัน ทำหน้าที่อย่างไร

(ภาพประกอบของท่อ Flexible ที่ติดตั้งกับอุปกรณ์น้ำมันแบบต่าง ๆ )
คำ ตอบ : ทำหน้าที่ลดการสั่นสะเทือนระหว่างอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเข้าด้วยกัน.ทำหน้าที่ลด การดึง รั้ง เมื่อมีการเชื่อมต่อ ยึดกันไว้ การติดตั้งท่อ Flexible จะสามารถทำให้อุปกรณ์แต่ละตัว มีการให้ตัว สามารถขยับเคลื่อนไหวได้บ้าง โดยที่การทำงานของอุปกรณ์จะยังคงได้ผลเต็มประสิทธิภาพอยู่ ไม่เกิดผลเสียจากการที่ผิดจากตำแหน่ง ดังที่ติดตั้งไว้ในครั้งแรก
  • หากไม่มีการติดตั้งอุปกรณ์ ท่อ Flexible นี้ไว้ การสั่นสะเทือน.การดึงรั้ง.การเคลื่อนตัว หรือ บิดงอ เปลี่ยนตำแหน่งไป อาจส่งผลเสียให้กับอุปกรณ์ได้

----------------------------------------------------------------------------------------------
สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่.
ติดต่อ คุณ ณัฐชยา
Web Site: http://www.pumpprogress.com/
Web Blog: http://thetraining-pro.blogspot.com/
edit @ by The Training Pro Learning & Skills
Tel..: 02 926 7121
Mobile..: +6689 455 7878
Fax..: 02 926 7122
Address.: 2/45 Moo 6, Jittakarn Village, Talingchan-Suphanburi Road, Tambol Sao-Thong-Hin, Amphure Bangyai, Nonthaburi, 11140 Thailand.
----------------------------------------------------------------------------------------------
Tag:ฝึกอบรม,การอบรม,Training,Learning,Skills,สัมมนา,ประชาสัมพันธ์,สื่อโฆษณา,การเรียนรู้,การฝึกทักษะ,เสริมสร้างสติปัญญา,ค้นคว้าหาความรู้,เรียนรู้,ฝึกสมอง,เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ,รอบรู้เรื่องงานซ่อม,งานซ่อมบำรุง,ตู้จ่ายน้ำมัน,ตู้น้ำมัน,ตู้เติมน้ำมัน,ปั๊มน้ำมัน,ปั๊ม,ปั้ม,ปั้มน้ำมัน,มือจ่ายน้ำมัน,มิเตอร์น้ำมัน,สายน้ำมัน,ถังน้ำมัน,น้ำมันเบนซิล,ดีเซล,เติมน้ำมัน,แกลลอนน้ำมัน,ปั๊มสูบจ่ายน้ำมัน,ปั๊มเคลื่อนที่,รถน้ำมันเชื้อเพลิง,รถจ่ายน้ำมัน,รถเติมน้ำมัน

Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...